World Health Organization (WHO) on Acupuncture
The use of acupuncture has been shown to effectively treat many types of conditions. In 2003 the World Health Organization (WHO) and the National Institutes of Health (NIH) released a report called “Acupuncture: Review and Analysis of Reports on Controlled Clinical Trials.” Below you will see a list of the conditions mentioned in that report.
Please note that there are plenty of additional conditions which centuries of empirical data have shown acupuncture treats effectively but for which there is little or no modern western research. If you have questions about a condition not listed below, be sure to contact us so we can address your specific situation.
Psychological Conditions
- Depression
- Anxiety
- OCD
- PTSD
- Somatization disorder
- Hypersomnia
- Insomnia
Neurological Conditions
- Headache and migraine
- Trigeminal neuralgia
- Facial palsy (early stage, within three to six months)
- Paresis following stroke
- Peripheral neuropathies
- Meniere’s Disease
- Nocturnal enuresis
- Cervicobrachial syndrome
- Neurogenic bladder dysfunction
- Intercostal neuralgia
- Disc problems
Musculo-skeletal Conditions
- Muscle pain, swelling, stiffness and weakness
- Localized traumatic injuries, sprains, strains, tendinitis, contractures
- Arthritis
- Fibromyalgia
- Work and sports related injuries
- Low back and/or neck strain
- Osteoarthritis
- “Frozen shoulder”, “tennis elbow”
- Sciatica
Respiratory System Conditions
- Acute sinusitis
- Acute rhinitis
- Common cold and allergies*
- Acute tonsillitis
- Acute bronchitis
- Bronchial asthma
Conditions of the Eye, Ear, Nose & Mouth
- Acute conjunctivitis
- Central retinitis
- Myopia (in children)
- Cataract (without complications)
- Toothaches, post extraction pain
- Gingivitis
- Acute and chronic pharyngitis
Gastrointestinal Conditions
- Spasms of esophagus and cardiac
- Irritable bowel and colitis
- Gastroptosis
- Acute and chronic gastritis
- Gastric hyperacidity (i.e. acid reflux)
- Chronic duodenal ulcer (pain relief)
- Acute duodenal ulcer (without complication)
- Acute and chronic colitis
- Constipation
- Diarrhea
- Acute bacillary dysentery
- Paralytic ileus
Gynecological Conditions
- Infertility *
- PMS
- Dysmenorrhea
- Menopause syndrome
- Benign irregular menstruation
- Benign amenorrhea
Cardiovascular Conditions
- Essential hypertension
Other Conditions
- Withdrawal from street and pharmacological drugs
- Appetite suppression
ได้ประกาศยอมรับการรักษาโรคหรือบรรเทาอาการด้วยวิธีฝังเข็มไว้ดังนี้
1. การรักษาที่ได้ผลเด่นชัดเป็นพิเศษ อาการปวด,โรคปวดคอเรื้อรัง, หัวไหล่, ข้อศอก, กระดูกสันหลัง, เอว, หัวเข่า , ปวดจากการเคล็ดขัดยอก, ปวดประจำเดือน, ปวดนิ่วในถุงน้ำดี, ปวดศีรษะที่มีสาเหตุจากความเครียดหรือก่อนการมีประจำเดือน, ปวดไตเนื่องจากสาเหตุต่างๆ, ปวดในทางเดินปัสสาวะ, ปวดเส้นประสาทหรือปวดเส้นประสาทบนใบหน้า, ปวดหลังผ่าตัด, ปวดไมเกรน, อาการซึมเศร้า อาการทั่วไป อัมพฤกษ์ และผลข้างเคียงหลังจากป่วยด้วยโรคทางสมอง, ความดันโลหิตสูงหรือต่ำ, เม็ดเลือดขาวน้อยกว่าปกติ, สมรรถภาพทางเพศถดถอย, ภูมิแพ้, หอบหืด, หวาดวิตกกังวล, นอนไม่หลับ ขากรรไกรค้าง, แพ้ท้อง, คลื่นเหียนอาเจียน, การเลิกเหล้า บุหรี่ ยาเสพติด
2. การรักษาที่ได้ผลดี อาการเจ็บเฉียบพลัน หรือเรื้อรังในลำคอ (ต่อมทอมซิล), อาการวิงเวียนศีรษะสาเหตุจากน้ำในช่องหู, สายตาสั้นในเด็ก, เด็กในครรภ์มารดาอยู่ในท่าขวาง (ทำให้คลอดยาก) , โรคอ้วน, โรคประสาท, การปวดของเส้นประสาทสะโพก, เส้นเอ็นอักเสบ, ปวดลำไส้เนื่องจากพยาธิ, อาการผิดปกติของลำไส้เมื่อเกิดความเครียด
การรักษาที่ได้ผล ท้องผูก, ท้องเดิน, การมีบุตรยาก ที่มีสาเหตุจากทั้งฝ่ายชาย, และฝ่ายหญิง, กระเพาะอาหารเลื่อนต่ำ, สะอึก, เรอบ่อย,ปัสสาวะไม่รู้ตัว ไม่คล่อง, ไซนัสอักเสบ, หญิงหลังคลอดมีน้ำนมไม่พอ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฝังเข็ม การฝังเข็ม คือการใช้เข็มปักลงไปบนจุดฝังเข็มตามร่างการ โดยใช้หลักการของแพทย์แผนจีนที่มีมากกว่า 4000 ปี การฝังเข็มเผยแพร่ไปทั่วโลก ทั้งในยุโรป อเมริกา และญี่ปุ่น เป็นเวลาหลายร้อยปี องค์การอนามัยโลกได้จัดประชุมเมื่อ พ.ศ. 2522 และ 2538 ให้การรับรองโรคที่ใช้ฝังเข็มเป็นทางเลือกหนึ่งในการรักษาจำนวน 57 โรค การฝังเข็มรักษาโรคให้หายได้ โดยผ่านจุดฝังเข็มที่อยู่บนเส้นลมปราณ ซึ่งเป็นเส้นทางไหลเวียนและลำเลียงของพลัง, เลือด และของเหลวในร่างกายรวมทั้งเชื่อมโยงอวัยวะภายในและเนื้อเยื่อต่างๆทำให้การไหลเวียนและลำเลียง ไม่ติดขัด อวัยวะและเนื้อเยื่อทำงานประสานกลมกลืนกัน แพทย์แผนปัจจุบันศึกษาเวชกรรมฝังเข็ม พบว่าการฝังเข็มมีผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติ ซึ่งควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆ และมีผลต่อการหลั่งสารหลายชนิดในร่างการ ซึ่งช่วยระงับอาการปวดและลดอาการอักเสบได้ดี การฝังเข็มรักษาโรคหายได้ เพียงบางส่วน ควรใช้ร่วมกับวิธีการรักษาอย่างอื่นๆ และที่สำคัญที่สุด คนไข้เองต้องปรับเปลี่ยนสภาพจิตใจและอารมณ์กับสภาพสุขนิสัยในการดำรงชีวิต ให้อยู่ในภาวะสมดุล จึงจะเป็นเงื่อนไขที่ทำให้หายจากโรคอย่างสมบูรณ์ ในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมการแพทย์ ร่วมกับมหาวิทยาลัยการแพทย์แผนจีนเซียงไฮ้ ได้จัดอบรมแพทย์ฝังเข็มตั้งแต่ปี พ.ศ.2541 ถึงปัจจุบัน มีจำนวนกว่า 500 คนทั่วประเทศ
ความรู้สึกขณะฝังเข็ม เจ็บเล็กน้อย เมื่อเข็มผ่านผิวหนัง หายเจ็บ เมื่อถึงชั้นใต้ผิวหนัง ชา, ตื้อ, หนัก ร้าว เมื่อถึงจุดฝังเข็มไปตามทางเดินของเส้นลมปราณ